วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2558

สรุปผลการเรียน

25 มี.ค 58 
วันที่ 22 สอบงานกิ๊ฟ ตรวจบูดบอร์ด มีผลงานประกอบ สรุปให้ได้ใน 1 บูดบอร์ด โปรดัก 10 ชิ้นงานชิ้นสุดท้ายอัฟลงบร็อคเข้าไปดูผลงานคนอื่นที่เยทำเอามาเป็นแนวทาง สารารถ download ได้แล้วต้องรูปฉลากที่ทำด้วย เวลาทำกล่องต้องมีการได้ร์คัท และมีส่วนเกินคอบออกมหน่อย วิธีการสอนต่างๆ วิธีทำ เวลาทำฟอร์น ต้องมีคลีเอทเอ้าไลน์ด้วย เส้น 0.1 ให้เป็นไกด์ ต้องทำรีพอสเล่มรายงานด้วย อย่างน้อยต้องมี 6 หน้า ชัยนาท ต้องสื่อออกมาให้ชัดเจนในการออกแบบ ต้องดีกว่าของเดิม

วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

สรุปการเรียนการสอนครั้งที่ 6

สรุปการเรียนการสอนครั้งที่ 6 

การแก้ไขงาน ไม่ให้หลอกตาม อาจารย์ จงใช้การคิด วิเคราะห์ วีธีการ
การแยกแยะวิช่วงเกี่ยวกับข้อมูล ผลิตภัณฑ์ นักออกแบบควรมองข้ามต้องรู้จริง สิ่งที่มองเห็นคือวิช่วง
logoเป็นการดีไซน์ไปภายในตัว การทำโลโก้ต้องแคปหน้าจอไว้เป็นอ้างอิงได้ ร่าง แบบร่าง
คราวหน้าขอดู ทำมาให้ดูเลลยพร้อมงานกลุ่มข้องมูลชัยนาท หลักฐานพร้อมรายงานสรุปมา
นำเสนอขึ้นรายงานแต่ละคน 
11-13 มีนา คิดมาแต่ละคน ต้องมีตัวอย่าง คิดอย่างเดียวไม่พอต้องมีหลักฐานวู๊ดบอด มีการเขียนแบบร่าง 3ส

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558


การจดบรรทึกคือการทบทวนความจำได้มากที่สุดและทุกอย่างต้องดำเนินไปตามแบบอย่าง
  • 5W1H (What? Where? Who? Why? When? & How) อะไรต่อเนื่องอยู่บ้าง  งานออกแบบจึงต้องมีการผลิต มีการทำขึ้นมาใช้งานได้จริงก่อนความงาม  ไม่เป็นแค่การวาดเขียนทางจิตนาการออกมาเป็นรูปภาพแสดงเท่านั้น
Visual analysis >>>การวิเคราะห์ภาพ

วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปการเรียนครั้งที่ 4

วันนี้ดูการตรวจงานของ อ.ว่าเช็คยังไง การรายงานข่าวหน้าชั้นเรียนว่าควรยังไงอะไรกันแน่ควรแปลยังไง
-ส่วนใหญ่บรรจุภัณฑ์จะโดนข้อหาว่าเป็นขยะพักหลังมีการออกให้เป็นของรัไซเคิลเพื่อประหยัดทรัพยากร
-รายงานหน้าชั้นเรียนเพื่อน คนไม่มา คนที่เลขที่ต่อไป ออกมาแทน มีข่าวรองเท้าที่มีแพ็คเก็ทในการนำกระดาษรีไซเคิลมาทำเป็นกล่องบรรจุรองเท้าลักษณะคล้ายๆเปเปอร์มาเช้
-คนที่2 นำข่าวหมากฝรั่งการดีไซน์ของ Smart Bites เป็นการออกแบบกราฟฟิคใช้สีสันรูปลักษณะที่แปลกตาในลักษณะเม็ดมีสีสันมีลายเส้นสวยงามน่าสนใจ ต้องสร้างสรรค์ในตัวบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์
-วิธีการที่จะนำเสนอต้องคิด the dieline มีงานมากมาย
-Rebrand คือการปรับให้ดีกว่าเดิม/Logoไทด์คือ front อย่างเดียว ถ้ามีรูปคือ Brand
-การออกแบบ Logo อย่าน้อยต้องมี 2 นัยยะให้มันวิ่งหากันได้ อะไรที่ใช้ font ธรรมดาจะมาทำเป็นโลโก้ไม่ได้/งานไม่ได้ราคาต้องรีบจบ/ถ้าออกแบบไม่นิ่ง Brand ก็จะเปรอะเกินไป
*งานที่สอบตอนกุมภาพันธ์/ออกแบบโลโก้ 123 ปีพระนคร
Logosociety.blogspot.com/ตรา100ปี
-การพับกระดาษ orikami/packaging ต้องมีกราฟฟิคเพื่อสื่อสารให้รู้ถึงการใช้งาน แค่มองก็รู้แล้ว

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558






การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมอง
(Product and Package Visual Analysis)
นาย วัชรินทร์ ยะนินทร 
5511302910







ก่อนการดำเนินงานออกแบบผลิตภัณฑ์และการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้แก่สินค้ายี่ห้ หรือ ผู้ผลิตราย ใดๆนั้น ผู้ออกแบบหรือนักพัฒนาควรต้องมีการวางแผนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นอย่าง เป็นระบบ ซึ่งโดย ทั่วไปในทางปฏิบัติการทางวิชาชีพของนักออกแบบบรรจุภัณฑ์นั้น อาจจะเป็น การวางแผนและใช้สื่อบันทึก การดำเนินงานเอาไว้อย่างคร่าวๆ ซึ่งอาจเป็นการเขียนแผนผังทาง ความคิด (Mind Mapping) เป็นแผ่นโน๊ตย่อๆ (Note Pad) แสดงหัวข้อไว้บนแผ่นกระดาน (Mood Board) เขียนหรือพิมพ์ไว้ในแผน ปฏิบัติการ ผ่านทางสมุด(Diary)หรือปฏิทินงาน(Calendar) ตามระยะเวลา (Design Plan or Timeline Operation Schedules) หากจัดทำเป็นรายงานสรุปในเชิงวิชาการก็ควรจัดทำให้สมบูรณ์เป็นลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถที่จะตรวจสอบ ติดตาม และสรุปผลออกมาได้จริง เช่น การที่ควรต้องเริ่มต้น ด้วยการวางกรอบแนวคิด หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า การสร้างกรอบการดำเนินงาน (Frame Work  or Over View) เอาไว้ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางภาพกว้างๆ ที่สามารถสื่อให้เห็นแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ


Product's Package Visual Analysis : Structure and Graphic Components


การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลส่วนประกอบของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการรับรู้ทางการมองเห็น











การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมองเห็นนั้น เป็นวิธีการศึกษา วิเคราะห์- วิจัยข้อมูลเบื้องต้น ที่นักวิจัยด้านการออกแบบสร้างสรรค์ แทบทุกสาขาอาชีพ ในขอบ ข่ายสายงาน ด้านการ ออกแบบทัศนสื่อสาร หรือที่เรียกว่าออกแบบนิเทศศิลป์ (Visual Communication Design) นั้น ต้องใช้ ในการเริ่มต้นทำงานเสมอ โดยวิธีและการสังเกตุ คุณลักษณะรูปลักษณ์ที่ปรากฏภายนอก ของสิ่ง ใดๆนั้นโดยตรง โดยไม่ใช้เครื่องมือ หรือ เครื่องช่วยใดๆมาประกอบ (Observation of the obvious, external features without the aid of an instrument) เป็นการประมวลสรุปในสิ่งที่ได้รับรู้ ได้มองเห็น ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นการ ตรวจสอบหรือการบ่งชี้ถึงคุณลักษณะของสิ่งที่มองเห็น(Visual Inspection) โดย ใช้ดุลพินิจ หรือองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวของผู้สังเกต(Observed) ได้รับรู้(Percieved) และแปลความ หมาย (Translated and Transfered) ในสิ่งที่รู้ที่เห็นออกมาได้เช่นใด วิธีการใด หรือด้วยสื่อใดนั่น



  วิธีการที่จะตรวจสอบในสิ่งที่ต้องการหาคำตอบให้ได้นั้น นักออกแบบก็ควรต้องอาศัย องค์ความรู้ ต่างๆที่ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์มา เพื่อที่จะประมวลสรุปผลออกมาให้ได้อย่างมี หลักการและเหตุผล ให้เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งนี้เพราะนักออกแบบ มีวิถีและวิธีการทำงาน ที่แตกต่างไปจากแนวทางการทำงา นของศิลปิน ในขอบข่ายทางศิลปะบริสุทธิ์ (Pure Art) นั่น ก็คือการศึกษาวิจัย และค้นหาแนวทาง ที่เป็นไป ได้จริง(Feasibility Study) หรือยึดกฏแห่งการ ใช้งานจริงภายในตัวผลงาน (Physical Fact and Workability or Functionality Study) ให้ได้ ก่อนการยึดมั่นในหลักการทางความสวยความงาม ที่ปรากฏ เห็น เป็นรูปลักษณ์ภายนอก อันเป็น ประเด็นรองตามหลักการของการสร้างสรรค์ผลงาน ประเภท ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts) ดังนั้นในกระบวนการทำงานของนักออกแบบ จึงควรต้องแสดง หลักฐาน หรือต้องมีสื่อแสดง ให้เห็นซึ่ง วิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการแก้ปัญหา การใช้องค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแสดง ทักษะการใช้เครืองมือและอุปกรณ์ช่วยการผลิต และเพื่อการนำเสนอผลงาน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกระบวนการทำงานนั้น ก็ต้องใช้เพื่อสื่อสารให้ผู้ร่วมงานอื่นๆ (Co-Producer) ได้ร่วม คิดร่วมสร้างความเข้าใจในเบื้องต้น  รวมถึงการสื่อสารไปให้ถึงผู้ใช้งานปลายทาง(End Users) ทั้งหลายนั้น นักออกแบบก็ต้องคิดวางแผน และคำนึงถึงเป็นการล่วงหน้าเอาไว้ด้วยเช่นกัน

วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558


โดย
  นาย.วัชรินทร์ ยะนินทร



รหัสนักศึกษา 5511302910
เเขนง ออกแบบประยุกต์ศิลป์